<< หน้าแรก  |  ประวัติ |    การจัดหน่วย  |  ผู้บังคับหน่วย อากาศยาน |  นิรภัยการบิน  |  Links  >>


การตรวจสอบและจัดมาตรฐานการบิน ประจำปี
2545 ครั้งที่ 1

กองร้อยบินกองพลทหารม้าที่ ๑ ได้รับความไว้วางใจจากคณะกรรมการตรวจสอบและจัดมาตรฐานการบินกองทัพบก ให้ดำเนินการสอบความรู้ความสามารถให้กับนักบินในฐานะหน่วยนำร่อง โดยใช้ครูการบินของหน่วย ให้ทำหน้าที่ครูจัดมาตรฐานฯ เช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบฯ ของ ทบ.  ซึ่งกองร้อยบินกองพลทหารม้าที่ ๑ ได้ดำเนินการ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และได้รับการตรวจสอบและจัดมาตรฐานการบินจากคณะกรรมการของกองทัพบก เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อ 28 ม.ค.45 โดยมี ท่าน พันเอก(พิเศษ)อุทัย  รูปงาม รอง ผบ.ศบบ.มาเป็นประธาน


ภาพการตรวจสอบและจัดมาตรฐานการบินเมื่อ 28 ม.ค.45

 พ.อ.อุทัย รูปงาม รอง ผบ.ศบบ.มาเป็นประธาน

นานๆจะรวมตัวกันครบหน้า จับมาถ่ายรูปส่ะเลย....ฮ่า

ฮ.ท.212 ของรร.การบิน ทบ.

ยากไหม๋ อาจารย์ก่อออก ต้องเข้ม สงสัยถามได้นะ

ครูเหลิมก็มาคุมสอบด้วยนะครับ บินก็เข้ม

เร็วๆหน่อย ใกล้หมดเวลาแล้ว...อาจารย์สืบเร่ง
ฮ.ท.206 เจอของแข็งจากครูเหลิม ต้องตามไปสระพรานนาคอีกเที่ยว...ฮะฮ่า  ฮ.ฝ.300 ตรวจสอบกับครูท่านใดครับ ที่แน่ๆ ตวจสอบ บ.ฝ.41 ต้องเจอ ครูนิเวศ

๑. ขอบเขตการตรวจสอบ และจัดมาตรฐานการบินอากาศยานปีกหมุน 

๑.๑ อากาศยานปีกหมุน ฮ.ท.๒๐๖

๑.๑.๑ การปฏิบัติการบินท่าบินมาตรฐาน

๑.๑.๑.๑ การตรวจอากาศยานก่อนทำการบิน

๑.๑.๑.๒การติดเครื่องยนต์

๑.๑.๑.๓ การใช้วิทยุ

๑.๑.๑.๔ การวิ่งขึ้นธรรมดาจากท่าลอยตัว,พื้น

๑.๑.๑.๕ การลงธรรมดาสู่ท่าลอยตัว , พื้น

๑.๑.๑.๖ การบินในวงจร

๑.๑.๑.๗ การวิ่งขึ้นด้วยกำลังเครื่องยนต์สูง

๑.๑.๑.๘ การลงด้วยมุมชัน

๑.๑.๑.๙ การดับเครื่องยนต์

๑.๑.๑.๑๐ การตรวจอากาศยานหลังทำการบิน

๑.๑.๒ การปฏิบัติการบินท่าบินเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

๑.๑.๒.๑ การทำ AUTOROTATION ขณะลอยตัว

๑.๑.๒.๒ การทำ AUTOROTATION แบบมาตรฐาน

๑.๑.๒.๓ การลงด้วยความระมัดระวัง

๑.๑.๒.๔ ระบบ HYDRAULIC ขัดข้อง

๑.๑.๒.๕ การปฏิบัติเมื่อสามมุติว่าเครื่องยนต์ขัดข้อง

๑.๑.๒.๖ ระบบ TAIL ROTOR ขัดข้อง

๑.๑.๓ การตอบคำถามตามคู่มือบิน ( เลือกตอบ ๒ ข้อ )

๑.๑.๓.๑ ENGINE COMPRESSOR STALL

๑.๑.๓.๒ ENGINE HOT START

๑.๑.๓.๓ N2 GOVERNOR OVERSPEED

๑.๑.๓.๔ N2 GOVERNOR UNDERSPEED

๑.๑.๓.๕ ENGINE FIRE DURING START

๑.๑.๓.๖ ENGINE FIRE IN FLIGHT

๑.๑.๓.๗ ENGINE FAILURE AT ALTITUDE

๑.๒ อากาศยานปีกหมุน ฮ.ฝ.๓๐๐

๑.๒.๑ การปฏิบัติการบินท่าบินมาตรฐาน

๑.๒.๑.๑ การตรวจอากาศยานก่อนทำการบิน

๑.๒.๑.๒ การลอยตัวเหนือจุดต้องการ

๑.๒.๑.๓ การหมุนขณะลอยตัว

๑.๒.๑.๔ การยก ฮ. สู่ท่าลอยตัว

๑.๒.๑.๕ การวางตัวจากท่าลอยตัวนิ่ง

๑.๒.๑.๖ การบินท่าข้าง

๑.๒.๑.๗ การบินถอยหลังจากท่าลอยตัว

๑.๒.๑.๘ การขับเคลื่อนที่พื้น และเหนือพื้น

๑.๒.๑.๙ การวิ่งขึ้นธรรมดาจากท่าลอยตัว,พื้น

๑.๒.๑.๑๐ การลงธรรมดาสู่ท่าลอยตัว, พื้น

๑.๒.๑.๑๑ การบินตรง บินระดับ

๑.๒.๑.๑๒ การเลี้ยวระดับ

๑.๒.๑.๑๓ การไต่ – ร่อนตรงหน้า

๑.๒.๑.๑๔ การเลี้ยวไต่ – ร่อน

๑.๒.๑.๑๕ การบินในวงจร

๑.๒.๑.๑๖ การใช้วิทยุ

๑.๒.๑.๑๗ การวิ่งขึ้นด้วยกำลังเครื่องยนต์สูง

๑.๒.๑.๑๘ การลงด้วยมุมชันสู่ท่าลอยตัว , พื้น

๑.๒.๑.๑๙ การลงด้วยมุมลาดและวิ่งไปบนพื้น

๑.๒.๑.๒๐ การหยุดทันทีทันใด

๑.๒.๑.๒๑ การติดเครื่องยนต์

๑.๒.๑.๒๒ การดับเครื่องยนต์

๑.๒.๑.๒๓ การตรวจอากาศยานหลังทำการบิน

๑.๒.๒ การปฏิบัติการบินท่าบินเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

๑.๒.๒.๑ การทำ AUTOROTATION ขณะลอยตัว

๑.๒.๒.๒ การทำ AUTOROTATION แบบมาตรฐาน

๑.๒.๒.๓ การปฏิบัติเมื่อสมมุติว่าเครื่องยนต์ขัดข้อง

๑.๒.๒.๔ การลงด้วยความระมัดระวัง

๑.๒.๒.๕ EMERGENCY PROCEDURES

๑.๒.๓ การตอบตำถามตามคู่มือบิน ( เลือกตอบ ๒ ข้อ )

๑.๒.๓.๑ การใช้ CHART ( MANIFOLD PRESSURE LIMIT PLACARD)ในการ MAXIMUM TAKE OF

๑.๒.๓.๒ การเกิด GROUND RESONANCE และการแก้ไข

๑.๒.๓.๓ การ CHECK MAGNETO

๑.๒.๓.๔ ข้อระวังการเกิด OVERSPEED

๑.๒.๓.๕ การเกิดและการแก้ไข SETTLING WITH POWER

 

๒.ขอบเขตการตรวจสอบและจัดมาตรฐานการบินภาคอากาศ อากาศยานปีกติดลำตัว

๒.๑ การปฏิบัติก่อนทำการบิน

๒.๒ การปฏิบัติขณะทำการบิน

๒.๒.๑ การติดเครื่องยนต์

๒.๒.๒ การใช้วิทยุ

๒.๒.๓ การขับเคลื่อนที่พื้น

๒.๒.๔ การบินในวงจร

๒.๒.๕ การออก และการเข้าต่อวงจร

๒.๒.๖ การใช้ส่วนบังคับสัมพันธ์กัน

๒.๒.๗ การดับเครื่องยนต์

๒.๓ ท่าบิน

๒.๓.๑ การลงตรงจุดที่กำหนด

๒.๓.๑.๑ ๙๐ องศา SIDE APPROACH

๒.๓.๑.๒ ๑๘๐ องศา SIDE APPROACH

๒.๓.๑.๓ ๑๘๐ องศา OVERHEAD APPROACH

๒.๓.๑.๔ ๓๖๐ องศา OVERHEAD APPROACH

๒.๓.๒ การลงฉุกเฉิน

๒.๓.๒.๑ แบบมีเวลา

๒.๓.๒.๒ แบบไม่มีเวลา

๒.๓.๓ การบินช้า

๒.๓.๔ การบินเลี้ยวปีกลึก

๒.๓.๕ การขึ้น – ลงขวางลม

๒.๔ การบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน

๒.๔.๑ การบินตรง บินระดับ และการเลี้ยวระดับ

๒.๔.๒ การไต่ และการเลี้ยวไต่

๒.๔.๓ การร่อน และการเลี้ยวร่อน

๒.๒.๔ การเลี้ยวด้วยเข็มทิศและแม่เหล็ก

๒.๒.๕ การเลี้ยวจับเวลา

๒.๒.๖ การแก้คืนจากท่าบินผิดปกติ

๒.๒.๗ การบินสกัดต่อแบริ่งขาเข้า

๒.๒.๘ การบินสกัดต่อแบริ่งขาออก

๒.๕ การปฏิบัติหลังทำการบิน

๒.๖ การตอบคำถามตามคู่มือบิน

๒.๖.๑ ไฟไหม้ขณะติดเครื่องยนต์

๒.๖.๒ เครื่องยนต์ดับขณะวิ่งขึ้น

๒.๖.๓ เครื่องยนต์ขัดข้องหลังจากวิ่งขึ้นแล้ว

๒.๖.๔ ไฟไหม้ขณะทำการบิน

๒.๖.๕ การลงพื้นที่ขรุขระ

๒.๖.๖ การลงเมื่อยางแบน

๒.๖.๗ การลงเมื่อส่วนบังคับขัดข้อง

๒.๖.๘ การลงบนพื้นน้ำ

กลับไปข้างบน

Hosted by www.Geocities.ws

1