Home ด้านสังคม ด้านการเมืองการปกครอง ด้านศาสนา ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา จัดทำโดย
Home
ด้านสังคม
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านศาสนา
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการศึกษา
จัดทำโดย

 

ด้านสังคม
สังคมของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการแบ่งชนชั้นออกเป็น 4 ประเภทคือ
1.เจ้านาย 2.ขุนนาง หรือ ข้าราชการ 3.ไพร่ หรือ สามัญชน 4.ทาส
1. เจ้านาย คือผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์ แต่มิได้หมายความว่าผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์ทุกคนจะเป็นเจ้านายหมด ลูกหลานของพระมหากษัตริย์จะถูกลดสกุลยศตามลำดับ และ ภายใน 5 ชั่วคน ลูกหลานของเจ้านายก็จะกลายเป็นสามัญชน ราชสกุลยศจะมีเพียง 5 ชั้นคือ เจ้าฟ้า,พระองค์เจ้า,หม่อมเจ้า,หม่อมราชวงศ์,หม่อมหลวง
2. ขุนนาง หรือ ข้าราชการ ยศของขุนนางเรียงลำดับจากขั้นสูงสุดไปน้อยสุดดังนี้
สมเด็จเจ้าพระยา เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน ทนาย
พระมหากษัตริย์จะพระราชทานยศและเลื่อนยศ ให้ตามความดีความชอบ นอกจากยศแล้วพระมหากษัตริย์ยังพระราชทานราชทินนามต่อท้ายยศให้ขุนนางด้วย ราชทินนามจะเป็นเครื่องบอกหน้าที่ที่ได้ เช่น เจ้าพระยามหาเสนา พระยาจ่าแสนยากร มักจะเป็นขุนนางฝ่ายทหาร เจ้าพระยาจักรี
3. ไพร่ หรือสามัญชน หมายถึง ผู้ชายที่มีอายุ 18 – 60 ปี ชายฉกรรจ์ที่เป็นสามัญชนจะต้องสักเลก เพื่อสังกัดเจ้านายหรือขุนนางคนใดคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า มูลนาย หากผู้ใดขัดขืน มิยอมสังกัดมูลนาย หรือไปรายงานตัวเป็นไพร่ จะมีโทษและจะไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย เช่นไม่มีสิทธิ์ในการถือครองที่ดินทำกิน จะฟ้องร้องใครไม่ได้

4. ทาส
ขั้นตอนการเลิกทาส
                        การปลดปล่อยทาสให้เป็นอิสระแก่ตนเองนั้นจำเป็นจะต้องค่อยเป็นค่อยไป เพราะสังคมไทยมีทาสมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ การยกเลิกทาสโดยฉับพลันย่อมจะกระทบกระเทือนต่อผลประโยชน์ของกลุ่มมูลนายที่มีทาสในครอบครอง ดังนั้นรัชกาลที่ 5 จึงทรงเตรียมแผนการในการเลิกทาสอย่างมีขั้นตอนดังต่อไปนี้

เว็บไซต์ประวัติศาสตร์น่าสนใจ

พระราชประวัติของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

การรถไฟ
การประปา
โทรศัพท์และโทรเลข
ไปรษณีย
การปฏิรูปการปกครอง
การปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่น
การเงิน การคลัง
เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1
เสด็จประพาสยุโรปครั้งที้่ 2
เจริญสัมพันธไมตรีกับต่างชาต
พระที่นั่งอนันตสมาคม
พระราชนิพนธ์เงาะป่า
พระราชนิพนธ์ไกลบ้าน
การศึกษา
ร.ศ.112
การเลิกทาส